รายละเอียดข้อมูลวิจัย
|
ลำดับที่
|
0003
|
ผู้กรอกข้อมูล
|
ศาสตราจารย์ ดร.วิภาดา คุณาวิกติกุล
|
วันที่กรอกข้อมูล
|
19/2/2553
|
ชื่อเรื่องไทย
|
ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร
|
ชื่อเรื่องอังกฤษ
|
RELATIONSHIPS BETWEEN SYSTEMS THINKING OF HEAD NURSES, EMOTIONAL INTELLIGENCE OF STAFF NURSES, AND EFFECTIVENESSOF PATIENT UNITS AS PERCEIVED BY STAFF NURSES, TERTIARY HOSPITALS, BANGKOK METROPOLIS
|
ชื่อผู้วิจัยหลัก
|
จุฑามาส ดุลยพิชช์
|
|
|
ชื่อผู้วิจัยร่วม
|
|
สังกัด
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
|
แหล่งทุน
|
|
|
|
ประเภทของผลงาน
|
วิทยานิพนธ์
|
แหล่งที่เก็บ
|
แหล่งที่เก็บข้อมูล | โปรดระบุ(ชื่อ) |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | |
|
|
|
ปี
|
2552
|
บทคัดย่อ
|
จุฑามาส ดุลยพิชช์ : ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
กรุงเทพมหานคร ( RELATIONSHIPS BETWEEN SYSTEMS THINKING OF HEAD NURSES, EMOTIONAL INTELLIGENCE OF STAFF NURSES, AND EFFECTIVENESS OF PATIENT UNITS AS PERCEIVED BY STAFF NURSES, TERTIARY HOSPITALS, BANGKOK METROPOLIS)
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : ผศ.ดร.สุชาดา รัชชุกูล, 151 หน้า.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานครจำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน ( Multi – stage sampling ) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97 , .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.71 , SD = .61 และ ( = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานครอยู่ในระดับปานกลาง ( = 151.26 SD = 33.59)
2.การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .45 และ .32 ตามลำดับ)
|
URL
|
|
วัตถุประสงค์
|
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร
|
|
|
ประชากร
|
|
|
|
|
สถานที่ทำวิจัย
|
ประเภทสถานที่ทำวิจัย | สถานที่ทำวิจัย |
อื่นๆ | โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร |
|
|
|
รูปแบบการวิจัย
|
รูปแบบงานวิจัย |
แบบพรรณนา / แบบสำรวจ (หาความสัมพันธ์) |
แบบพรรณนา / แบบสำรวจ (หาความสัมพันธ์) |
|
|
|
วิธีการจัดกระทำ
|
|
|
|
เครื่องมือวิจัย
|
|
ชนิดเครื่องมือ | ที่มาของเครื่องมือ | ค่าความตรง | ค่าความตรงของเครื่องมือวิจัย | ค่าความเที่ยงของเครื่องมือวิจัยต้นแบบ | ค่าตัวชี้วัดคุณภาพ |
แบบสอบถาม | พัฒนาขึ้นมาเอง | | | | |
แบบสอบถาม | พัฒนาขึ้นมาเอง | | | | |
แบบประเมิน / แบบวัด | พัฒนาขึ้นมาเอง | | | | |
|
จำนวนเครื่องมือวิจัยที่ใช้
|
3 เครื่องมือ
|
|
|
ผ่าน IRB
|
ไม่ระบุ
|
การขออนุญาตจากสังกัดของตัวอย่าง
|
ได้ทำ
|
การขออนุญาตจากตัวอย่าง
|
ได้ทำ
|
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล
|
|
|
|
วิธีการเก็บข้อมูล
|
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | อื่นๆโปรดระบุ |
การใช้แบบสอบถาม / การให้กลุ่มตัวอย่างตอบเอง (แบบสอบถาม, แบบประเมิน, แบบวัด) | |
|
|
|
สถิติที่ใช้
|
สถิติที่ใช้ | อื่นๆโปรดระบุ |
สถิติบรรยาย | |
|
|
|
ผลการศึกษา
|
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.71 , SD = .61 และ ( = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานครอยู่ในระดับปานกลาง ( = 151.26 SD = 33.59)
2.การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = .45 และ .32 ตามลำดับ)
|
ข้อจำกัดในวิจัย
|
|
ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติการพยาบาล
|
|
ข้อเสนอแนะในการบริหารการพยาบาล
|
|
ข้อเสนอแนะในด้านการวิจัย
|
|
ข้อเสนอแนะในด้านการศึกษา
|
|
ข้อเสนอแนะในด้านอื่นๆ / ทั่วไป
|
|
คำสำคัญ
|
|
|
|
Theme งานวิจัย
|
|
|
|
|
Sig
|
|
|
|
|
|
|
|
พิมพ์หน้านี้
|
|
|
|